การกำหนดบัญญัติไว้ในมาตรา 24 ให้ผู้ค้าขายไข่นั้นจำเป็นจะต้องมีใบอนุญาตน่าจะมีการกำหนดบทลงโทษเพิ่มสำหรับผู้ที่ค้าขายโดยที่ไม่มีใบอนุญาตนั่นก็คือ
หลายคนอาจจะไม่เคยทราบว่า การปลูกผักหรือการขายไข่นั้นจะต้องมีใบอนุญาตในเรื่องของการเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์ต่างๆซึ่งทางตามกฎหมายของกรมปศุสัตว์ก็ได้มีการกำหนดไว้ซึ่งเรื่องนี้ด้วยเช่นกันโดยสาเหตุนั้นก็คือขายถือเป็นซากสัตว์ตามกฎหมายที่อาจจะสามารถปนเปื้อนเชื้อปนเปื้อนและเชื้อโรคต่างๆที่สามารถนำไปสู่การแพร่หลายขยายพันธุ์ได้ นั้นเอง
ซึ่งจะทำให้มีการใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติในเรื่องของโรคระบาดสัตว์ในปีพศ 2558 โดยมีวัตถุประสงค์ในเรื่องของการควบคุมป้องกันโรคระบาดในสัตว์เช่นโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกจำพวกเป็ดไก่ห่านตลอดไปจนถึงโรคติดต่อต่างๆโดยมีการกำหนดบัญญัติไว้ในมาตรา 24 ให้ผู้ค้าขายไข่นั้นจำเป็นจะต้องมีใบอนุญาตน่าจะมีการกำหนดบทลงโทษเพิ่มสำหรับผู้ที่ค้าขายโดยที่ไม่มีใบอนุญาตนั่นก็คือ
มาตรา 66 จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
โดยสำหรับการทำเรื่องขอใบอนุญาตเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์นั้นสามารถติดต่อไปได้ที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดโดยอัตราค่าตำแหน่งอนุญาตนั้นก็จะมีดังนี้…
ภายในจังหวัด : ค่าธรรมเนียมฉบับละ 50 บาท ค่าขออนุญาตหรือคำขอต่อใบอนุญาตฉบับละ 50 บาท (รวมทั้งสิ้น 100 บาท)
ทั่วราชอาณาจักร : ค่าธรรมเนียมฉบับละ 240 บาทค่าขออนุญาตหรือคำขอต่อใบอนุญาตฉบับละ 50 บาท (รวมทั้งสิ้น 290 บาท)
กรณีค้าทั่วราชอาณาจักรผู้ทำการค้า สามารถส่งขายไข่ได้ทั่วทุกจังหวัดในประเทศ ใบอนุญาตมีอายุ 1 ปี
จากนี้ยังมีข้อกฎหมายที่ควรรู้เพิ่มเติมคือมาตราที่ 4 แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ปีพศ 2558 นั้นด้วยความหมายของคำว่าซากสัตว์นั่นก็หมายความว่าร่างกายหรือส่วนของร่างกายสัตว์ที่ตายไปแล้วสิ่งใดๆที่ได้จากสัตว์ที่มีชีวิตหรือสัตว์ที่ตายไปแล้วนั้นก็รวมถึงการทำอาหารสุกต่างๆประกอบหรือการปรับปรุงจะสร้างสรรค์ก็ถือเป็นสิ่งประดิษฐ์สำเร็จรูปที่ทำจากซากสัตว์เช่นกันซึ่งถืออยู่ในกำหนดตามมาตรการของพระราชบัญญัตินี้ตามที่รัฐมนตรีได้กำหนดประกาศไว้
ซึ่งมาตรา 24 นั้นก็จะเป็นเพื่อประโยชน์ในการช่วยป้องกันควบคุมโรคระบาดอันเกิดจากการค้าสัตว์หรือซากสัตว์โดยผู้การทำการ์ดหรือฆ่าสัตว์หาผลกำไรในลักษณะพ่อค้าคนกลางซึ่งสัตว์ หรือซากสัตว์ดังต่อไปนี้ ต้องได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียนคือ…
1.ช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ กวาง สุกร หมูป่า สุนัข แมว
2.นก ไก่ เป็ด ห่าน รวมถึงไข่สําหรับใช้ทําพันธุ์
3.ซากสัตว์ของสัตว์ตาม (1) หรือ (2)
4.สัตว์หรือซากสัตว์ชนิดอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
มาตรา 66 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 24 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 25 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 24 หรือมาตรา 25 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนดตามมาตรา 24 วรรคสอง หรือมาตรา 25 วรรคสอง แล้วแต่กรณี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ซึ่งตามข้อกฎหมายดังกล่าวนี้ก็จะทำให้หลายท่านเกิดความสงสัยว่า ความจริงแล้วเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์และได้มีการเตรียมความพร้อมไว้ให้เราหรือไม่ในเรื่องของการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ค้าและเกษตรกรที่สามารถให้เข้าไปใช้บริการได้ในทุกวันรวมถึงการขออนุญาตแบบผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบพิเศษ EPP อยู่ในขณะนี้ยังไม่สามารถใช้งานได้มีประสิทธิภาพมากนักเนื่องจากมีการใช้งานและขั้นตอนค่อนข้างยุ่งยากเกินไปสำหรับผู้ใช้ในบางคน
แต่ในทางที่ดี ผู้ค้าขายไข่ไก่นั้นก็ควรจะศึกษาข้อมูลในเรื่องของกฎหมายต่างๆและควรทำตามขั้นตอนปฏิบัติเพื่อป้องกันการผิดข้อกฎหมายเสียจะดีกว่า
- ปลื้มปีติ! สมเด็จพระเทพฯ พระราชทานอาหารสัตว์ ช่วยเกษตรกรจากภัยภาคใต้
- วงมาลีฮวนน่า ประณามโจ๋ ฆ่าปาดคอเจ้าของวงดนตรีดังภาคใต้ ดับหลังเวทีสงกรานต์
- เด็กสาวถูกเผาทั้งเป็น หลังแจ้งความครูใหญ่ลวนลาม
- พวกหนีคดี ไม่รอด! ราชกิจจาฯประกาศ หนีหมายจับเกิน180วัน โดนคัดชื่อออกจากทะเบียนบ้าน
- หดหู่ใจ! มุสลิมอินเดีย โดนรุมทำร้ายให้กินหมู คุกเข่าเต็มไปด้วยโคลน
- กฎหมายชารีอะห์ บรูไน ประเทศใดใช้บทลงโทษนี้บ้าง?
อ้างอิง : กรมปศุสัตว์ , สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครสวรรค์